พหุภพ ( Multiverses ): ดินแดนเหนือสายรุ้ง กับทฤษฏี Infinite Universes

พหุภพ ( Multiverses ) คืออะไร มีข้อความที่ถูกเขียนไว้ชวนให้คิดที่ว่า “ถ้าเราอยู่ในที่ที่เราอยู่ เราจะพบกับตัวเอง แต่หากเราไปให้ไกลพอ เราจะพบมัน ที่ไหนสักแห่ง… เหนือสายรุ้งนั้น ยังมีดินแดนมหัศจรรย์คอยอ […]

จักรวาลฟองสบู่ ( Bubble Universes ) : มหานครที่ซ่อนอยู่ ภายใต้ทฤษฏี Eternal Inflation

จักรวาลฟองสบู่ ( Bubble Universes ) หากมีอยู่จริง คงทำให้เชื่อได้ว่า น่าจะมีมหานครที่ซ่อนเร้น อยู่ห่างออกไปในจักรวาล ที่นอกเหนือจากบนทางช้างเผือกที่เราอาศัยอยู่ หากนักจักรวาลวิทยาต้องทำการศึกษา พวกเขา […]

ควอนตัมคอมพิวเตอร์ คือ? เครื่องมือน้องใหม่ใช้ขับเคลื่อนโลก

ควอนตัมคอมพิวเตอร์ ควอนตัมคอมพิวเตอร์คือ คอมพิวเตอร์ในอุดมคติที่จะทำงานบนสมมติฐานการคำนวณตามพฤติกรรมของอนุภาค( atom ) และอนุภาคย่อย ( sub-atom ) สสารโดยธรรมชาติแล้วจะปฏิบัติตาม กฏกลศาสตร์ควอนตัม ( qua […]

รูปทรงของโคม ผลต่อทิศทางของแสง และการเลือกใช้

รูปทรงของโคม มีผลต่อทิศทางการกระจายของแสงโดยตรง นอกจากการออกแบบโคมให้ภายในดวงโคมสามารถสะท้อนแสงได้แตกต่างกันไปตามความต้องการ โดยใช้หลักการสะท้อนแสงในรูปแบบต่าง ๆแล้ว รูปทรงของดวงโคมที่หมายรวมไปถึงรูปท […]

Binary Number: มหัศจรรย์เลข 0 , 1

Binary Number หรือที่เรียกกันว่าเลขฐานสอง คือโครงร่างตัวเลขที่มีสัญลักษณ์ที่เป็นไปได้สำหรับแต่ละหลักคือ 0 กับ 1 หมายถึงระบบการเข้ารหัส/การถอดรหัสแบบดิจิทัล ที่มีสถานะเป็นไปได้สองอย่าง ในหน่วยความจำข้อ […]

ทฤษฏีควอนตัม: พื้นฐานโมเดิร์นฟิสิกส์ ว่าด้วยหลักแห่งความไม่แน่นอน

ทฤษฏีควอนตัม เป็นพื้นฐานทฤษฏีต่าง ๆของฟิสิกส์สมัยใหม่ที่เน้นอธิบายลักษณะ และพฤติกรรมของสสาร และพลังงานในระดับอะตอม และซับอะตอม ( sub-atom ) ซึ่งลักษณะ และพฤติกรรมของสสาร และพลังงานในระดับนี้ บางครั้งถ […]